วันเสาร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2561

วิจัยเรื่อง...การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้

ลิงค์
http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Komkhwan_O.pdf

สรุป
บทที่ 1 บทนำ
 ทักษะคณิตศาสตร์เป็นทักษะที่แทรกให้ทุกกิจกรรมศิลปะเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กได้สำรวจค้นคว้าเปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิดริเริ่มและจินตนาการ กิจกรรมศิลปะจะช่วยให้เด็ก
สังเกตสิ่งรอบๆตัว ไม่ว่าจะเป็น  เรื่องของสี รูปร่าง พื้นผิว ต่างๆ รูปแบบศิลปะสร้างสรรค์เพื่อ
การเรียนรู้ พบว่าศิลปะเปลี่ยนแบบ ศิลปะบรูณาการและศิลปะค้นหา สามารถนำมาใช้ในการพัฒนา
ทักษะคณิตศาสตร์ได้ การเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้มาสร้างเป็นงานศิลปะด้วยการเปลี่ยนรูปแบบและเลือกใช้ในการสร้างงาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัย
1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับทกษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร 
    1.1 ความหมายของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร 
    1.2 ความสําคัญของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร 
    1.3 จุดมุงหมายในการเตรียมทกษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร 
    1.4 ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
    1.5 หลักการสอนคณิตศาสตรสำหรับเด็กปฐมวัย 
    1.6 ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่เด็กปฐมวัยตองเรียน 
    1.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับกิจกรรมศิลปะ
    2.1 ความหมายของศิลปะ
    2.2 คุณคาของกิจกรรมศิลปะ
    2.3 ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมศิลปะ
    2.4 พัฒนาการทางศิลปะสําหรับเด็กปฐมวัย
    2.5 แนวการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย
    2.6 การจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย
    2.7 บทบาทของครูศิลปะปฐมวัย
    2.8 ศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู้
    2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับกิจกรรมศิลปะสรางสรรค์

บทที่ 3 วิธีการดำเนิน 
     ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดั้งต่อไปนี้ 
       1. การกําหนดประชากรและการสุมกลุมตัวอยาง 
       2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 
       3. การเก็บรวบรวมขอมลู 
       4. การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
      กลุมตัวอย่างที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ เปนนักเรียนชาย – หญิงอายุระหวาง 5 – 6 ป ซึ่งกําลังศึกษาอยูในชั้นอนุบาลปที่3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศกรุงเทพมหานครสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึ่งได้จากการจับฉลากมา 1 หองเรียนและไดรับการประเมินทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยใชแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสรางขึ้น โดยคัดเลือกเด็กที่มีคะแนะทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรใน 15 อันดับสุดทายกําหนดเปนกลุมทดลอง

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์
      1. เปรียบเทียบการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย โดยรวม 5 ทักษะ 
กอนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู
      2. เปรียบเทียบการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย จําแนกราย ทักษะ 
กอนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู้
      3. วิเคราะหระดับการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย โดยรวม 5 ทักษะ 
และจําแนกรายทักษะ กอนและหลังการทดลอง

บทที่ 5 สรุปผลอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 
      ความมุงหมายของการวจิัย 
         เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู้
      สมมติฐานในการวิจัย 
          เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู้มีพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการทดลองแตกต่างกัน
      สรุปผลวิจัย
         1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคมีคะแนนเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทาง 
คณิตศาสตร โดยรวม 5 ทักษะและจําแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตำแหน่งทักษะการ จําแนก ทักษะการนับ 1 – 30 ทักษะการรูคารูจํานวนและทักษะการเพิ่ม – ลด ภายในจํานวน 1 – 10 อยูในระดับดี แตกตางจากกอนทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีคาเฉลี่ยสูงขึ้น 
         2. เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค มีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในทุกทักษะสูงขึ้นกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น